เกาะกระแสสินค้าไอที

วิธีเลือกซื้อสินค้าไอที

เรื่องน่ารู้

สินค้าใหม่แกะกล่อง

TOWER (1CPU E3)

HPE ProLiant MicroServer Gen10
Lenovo ThinkSystem ST50 Lenovo ThinkSystem ST50 V2 Lenovo ThinkSystem ST250 V2 HPE ProLiant ML30 Gen10 Plus DELL EMC PowerEdge T40 DELL EMC PowerEdge T150 DELL EMC PowerEdge T350

Tower (1CPU)

HPE ProLiant ML110 Gen10 HPE ProLiant ML110 Gen11

Tower (2CPU)

DELL EMC PowerEdge T440
DELL EMC PowerEdge T550
HPE ProLiant ML350 Gen10
HPE ProLiant ML350 Gen11
Lenovo ThinkSystem ST550
Lenovo ThinkSystem ST650 V2

Rack 1U (1CPU)

Lenovo ThinkSystem SR250 V2
DELL EMC PowerEdge R250
DELL EMC PowerEdge R350
HPE ProLiant DL20 Gen10 Plus
HPE ProLiant DL320 Gen11
HPE ProLiant DL325 Gen10
HPE ProLiant DL325 Gen10 Plus v2
HPE ProLiant DL325 Gen11

Rack 1U (2CPU)

Lenovo ThinkSystem SR530
Lenovo ThinkSystem SR630
Lenovo ThinkSystem SR635
Lenovo ThinkSystem SR645
DELL EMC PowerEdge R450
DELL EMC PowerEdge R650
HPE ProLiant DL160 Gen10
HPE ProLiant DL360 Gen10
HPE ProLiant DL360 Gen10 Plus
HPE ProLiant DL360 Gen11
HPE ProLiant DL365 Gen11
DELL EMC PowerEdge R6525

Rack 2U (2CPU Entry)

DELL EMC PowerEdge R550
HPE ProLiant DL180 Gen10

Rack 2U (2CPU Hi-end)

Lenovo ThinkSystem SR550
Lenovo ThinkSystem SR590
Lenovo ThinkSystem SR650 V2
Lenovo ThinkSystem SR655 (AMD 1CPU)
DELL EMC PowerEdge R7515
DELL EMC PowerEdge R7525
DELL EMC PowerEdge R740
DELL EMC PowerEdge R750
HPE ProLiant DL380 Gen10
HPE ProLiant DL380 Gen11
HPE ProLiant DL380 Gen10 Plus
HPE ProLiant DL385 Gen10
HPE ProLiant DL385 Gen10 Plus v2

Rack 2U (4CPU Hi-end)

DELL EMC PowerEdge R840

Hyper-Converged

DELL EMC vSAN Solution
Preview DELL EMC VxRail

Solution Ready Package

Lenovo ThinkSystem HA Proxmox
Lenovo Server + Storage

Course Training

Training Microsoft Server Workshop

วิธีการสั่งซื้อ
สิทธิประโยขน์สมาชิก
ชำระเงินผ่านบัตรเครดิต
วิธีการชำระเงิน
วิธีการส่งสินค้า
เกี่ยวกับเรา
ติดต่อเรา



ทีมงานเราผ่าน Certified Worldwide
HPE Gold Partner Certified
HP Certificate Partner FY16


DELLEMC Partner Certified
DELLEMC Platinum Partner

Microsoft Certified (MCSA) Microsoft Certified Solutions Associate

VMware Certified (VCP) VMware Certified Professional 5

Microsoft Silver Partner MidMarket Solution Provider Cisco Partner

VMware Partner
 
            สวัสดีครับ ยินดีต้อนรับสู่บทความแรก ที่ผมเองเขียนให้กับ 2BeShop เพราะคนชอบถามกันเยอะเหมือนกัน จากประสบการณ์ที่อยู่กับ Server มากว่า 10 ปีได้ แต่อยู่จริงๆจังๆก็คงไม่นานเท่านั้น แต่ก่อนสมัยยังเป็นนักศึกษา เคยรู้จิตนาการ Server ว่ามันคงจะใหญ่ๆ เป็นกล่องๆ ห้องเย็นๆ เสียงดังๆ รันหนักๆ แล้วสำคัญคือ แพงๆ :) แต่พอได้เห็นจริงๆ ก็ยิ่งตกใจ เพราะผมเองเริ่มอยู่กับ Server ที่เป็น Rack ซึ่งดูแล้วยิ่ง งง Server อะไรบางๆ แบนๆ แต่ก็แปลกดู รู้สึกว่ามันให้ความแตกต่างจาก PC ดี พูดซะนานมาเข้าเรื่องกันดีกว่า


            คำถามที่ว่า ทำไมต้องใช้ Server ไม่ใช้ PC เป็นคำถามยอดฮิต ขององค์กรที่มีงบประมาณค่อนข้างต่ำ หรือแม้แต่บางองค์กรใหญ่ๆ ก็รู้สึกว่าการซื้อ Server เกินความจำเป็น แต่ก่อนผมก็เคยรู้สึกเช่นนั้นเหมือนกัน เพราะ PC ก็รันได้ อัดแอร์ให้ 24 ชม. หน่อย มันก็วิ่งไปได้ มีหลายเครื่องหน่อย คอยทดแทนกัน ถ้าพูดเช่นนั้น ก็ต้องบอกว่าจริง มีหลายองค์กรที่นำ PC มาทำเป็น Server แล้วก็ทำการเปลี่ยนทุกๆ 1 ปี ก็ว่ากันไป ก็อาจจะทำให้ประหยัดกว่าซื้อ Server 1 เครื่อง แต่คำถามก็คือ ทำอย่างนั้นได้ การใช้งานก็คงต้องไม่มาก เพราะ PC ก็ทำมาให้ใช้ได้แค่ 1 CPU เท่านั้นหรือเขาเรียกกันว่า 1way หรือระบบงานคงไม่ซีเรียสมาก เพราะคุณคงต้องตั้งคำถามในใจว่า หาก Server ตัวนี้พัง Harddisk พัง หรือล่มขึ้นมา อะไรจะเกิดขึ้น ความเสียหายที่เกิดขึ้นจะมากเพียงใด ถ้าไม่มากก็คงใช้ PC ได้แต่หากมีผลเสียหายมากคุณจะเอาความเสี่ยงนั้นฝากไว้กับ PC ราคาหมื่นกว่าบาท หรือฝากไว้กับส่วนต่างที่ต่างกันไม่กี่หมื่นเท่านั้น


            โดยส่วนตัวในฐานะบริษัท SME เล็กๆ ก็ใช้ Server ในการให้บริการลูกค้า ก็เริ่มจากเครื่องประกอบ แต่พอซื้อบ่อยๆเข้าเลยเริ่มมาใช้เครื่อง Brand Name ก็รู้สึกว่ามีความแตกต่างในอุปกรณ์ และระบบต่างๆ ในราคาที่ไม่ต่างกันมาก แต่ก็ยังใช้ Server ขนาดเล็กๆเท่านั้น แต่พอใช้ไปสัก 2-3 ปี Server เริ่มมีปัญหาก็เริ่มรู้ว่า ปัญหามันเสียหายมากจริงๆ จนต้องเริ่มคิดถึงการลงทุนด้าน Server มากขึ้น จนทุกวันนี้ก็ทำให้พร้อมที่จะใช้ Server ระดับสูงและคุณภาพดีอย่าง Blade Server เป็นต้น ก็เป็นสิ่งที่เขียนเล่าสู่กันพัง

แล้ว PC กับ Server ต่างกันตรงไหนล่ะ
  1. Alert ต่างๆ : อันนี้ต้องบอกว่า PC นั้นไม่มี และ Server ประกอบก็ไม่มีเช่นกัน เทคโนโลยี่ Server นั้นก้าวไกลมาก ถึงขนาดที่ Server บางรุ่น สามารถบอกให้คุณได้รู้ล่วงหน้าด้วยซ้ำว่าอุปกรณ์กำลังจะเสีย เสียชิ้นไหน เสียตัวที่เท่าไร ลองนึกภาพ หากคุณใส่ Memory ไปทั้งหมด 8 แถว แล้วเกิด Memory เสีย สิ่งที่เราต้องทำก็คือ ถอดออกทีละแถว แล้วรันดูว่าอันไหนเสีย แต่เทคโนโลยี่ Server บางยี่ห้อ สามารถกดปุ่มใน board แล้วขึ้นไฟบอกได้เลยว่า Memory แถวไหนเสีย หรือหาก Harddisk กำลังเสีย วิ่งด้วยความเร็วผิด Speed ก็จะแจ้งเตือนที่หน้าเครื่องว่ากำลังจะเสีย สิ่งนี้คุณจะไม่พบได้เลยใน PC หรือแม้กระทั้ง Server ประกอบ

  2. Mainboard : จริงๆแล้ว Mainboard เป็นส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการทำงานทั้งหมดของคอมพิวเตอร์ ชื่อก็บอกอยู่ล่ะว่า Main ถามต่อไปว่าต่างกันขนาดนั้น คงต่างกันที่สถาปัตยกรรม Board Server ถูกออกแบบมาให้รันได้ตลอด 24 ชม แต่ PC ไม่ใช่อย่างนั้น ส่วน Slot ต่างๆก็จะแตกต่างกัน Server โดยส่วนใหญ่จะ Onboard พวกการ์ดจอ และก็เช่นกัน มักไม่มี Sound Card ทั้งที่เพราะส่วนใหญ่นำ Server ไว้ share file รัน application เลยไม่ค่อยฟังเสียงกัน คนที่ใช้งาน multimedia มากๆมักจะใช้ workstation มากกว่า Server
                สำหรับความแตกต่างด้านราคานั้น ผมเคยซื้อตัวประกอบ Mainboard PC จะอยู่ที่ 1,500 - 3,000 แต่ถ้า Server ราคามักจะเริ่มต้นที่ 10,000 บาทสำหรับ Mainboard นี่คือพวก Server ประกอบนะครับ แต่เดี๋ยวนี้ Brand name ก็ถูกกว่าประกอบได้

  3. Power Supply : Power Supply นั้นเป็นส่วนสำคัญ ป็นระบบจ่ายไฟของทั้งระบบ สำหรับตัวนี้นั้นสำหรับ Server ก็เช่นกัน ถูกออกแบบมาให้เปิดใช้งานได้ตลอด 24 ชม เท่าที่ผมเคยซื้อ มันตัวนึงก็ 5 พันกว่าบาทได้ นี่แบบถูกๆเลยนะ แต่เราจะเห็นว่า Power Supply PC มันลูกละ 150 บาทได้มั้ง เห็นว่ามันต่างกัน แล้วผมเคยมีประสบการณ์ บางคนใช้ PC แล้ว Power Supply ไหม้ ส่งผลถึงข้อมูลระบบ มันละลายลงไปโดน mainboard ทำให้ harddisk พังข้อมูลพัง จบเลยงานนี้ ดังนั้นท่านต้องคิดแล้วล่ะว่าข้อมูลท่านสำคัญมากน้อยแค่ไหน
                อีกอย่างที่ขาดไม่ได้เลย สำหรับ Server นั้นมีหลายรุ่นที่มี Reduntdant Power Supply นั้นคือ มันมี Power Supply 2 ตัวในเครื่องเดียว ป้องกัน Power Supply พัง แล้วยังเป็น Hot swap ด้วย นั้นคืออันไหนพังเราก็ดึงออกได้เลย โดยไม่ต้องปิดเครื่อง แล้วเสียบเข้าได้โดยไม่ต้องปิดเครื่องเช่นกัน ก็จะไม่มี Downtime เลยว่างั้น

  4. CPU : CPU นั้นต่างกันแน่นอน แต่ก็มี CPU ที่ไม่ต่างกันคือพวก CPU ตระกูล Pentium ทั้งหลาย บน Server กับ PC นั้นไม่ต่างกัน แต่สำหรับ Server เองที่อยู่ในระดับสูงนิดนึงก็จะมี XEON Processor เป็น Server ที่สำหรับ Server ใส่ได้ตั้งแต่ 2 ตัว 4 ตัว 8 ตัว 16 ตัว แล้วแต่ Mainboard จะเห็นว่าหากคุณรันงานหนักๆ คงไม่มีทางที่จะเอา CPU Pentium เพียงตัวเดียวมาทำงาน งานบางงานระดับ Software House ก็ใช้ Server ตัวนึงเป็นล้านๆ แต่ถามว่าแม้เป็นล้าน มันก็ทำงานได้หลายล้านเช่นกัน สรุปคือ CPU มีจำนวนที่ใส่ได้มากกว่า แล้วสามารถรองรับ Application ที่รันหนักๆได้อย่างดี

  5. Memory : บางคนอาจจะ โห มันต่างกันด้วยเหรอ ต่างครับ Server จะใช้ Memory ที่เรียกว่า ECC Memory จะเป็น Memory ที่มีระบบป้องกันการส่งข้อมูลผิดพลาด อีกทั้ง Memory สำหรับบางยี่ห้อที่เป็น Chipkll คือเป็นเหมือน Mirror Memory เลยทีเดียว คือ หากคุณมี Memory 4 แถว เกิดพังไป 1 แถว ถ้าเป็น PC รันไปถึง Memory ตัวนั้นก็คงแฮงไปเลย แต่ Server ไม่พังคับ ก็ยังรันต่อไปได้ โดยไม่มีสะดุด้

  6. Hard Drive : หรือ Harddisk นั้นแหละ ทำไมต่างกันนั้นเหรอ สำหรับ PC เราคงรู้จัก IDE กัน แล้วก็เดี๋ยวนี้คงเป็น Serial ATA (SATA) มาแทน IDE แต่สำหรับ Server นั้นจะสามารถใช้งาน SCSI ได้ ซึ่งเป็น Harddisk ที่ดีที่สุด ณ ตอนนี้ แล้วยังมีเทคโนโลยี่ใหม่เรียกว่า SAS (แซด) ฟังดูเศร้าๆ แต่ก็เป็นเทคโนโลยี่ของ SCSI ใหม่ที่ทำให้ทำงานได้เร็วขึ้นไปอีก

  7. RAID Controller : RAID หลายคนอาจจะฟังแล้วไม่คุ้น บางคนก็คงคุ้นเคย ใน PC นั้นไม่มี RAID แน่นอนทำให้เลยไม่คุ้นสักเท่าไร แต่ใน Server นั้น RAID มีความสำคัญมาก ถ้าพูดถึงข้อมูลแล้ว เราคงให้ความสำคัญอย่างมาก ดังนั้นเลยมีเทคโนโลยี่ RAID เพื่อช่วยป้องกัน Harddisk พัง ซึ่งจะทำให้มี Harddisk ที่พร้อมทำงานแทนตลอดเวลาเมื่อลูกใดลูกหนึ่งพัง ก็ไม่ต้องมานั่งกู้ข้อมูล Restore กันให้วุ่นวาย รวมถึง RAID ยังสามารถทำให้ประสิทธิภาพในการเรียกใช้งาน Harddisk ทำได้เร็วขึ้นด้วย ก็มีเช่นกัน ดังนั้นทำให้หลายองค์กรก็เลือกใช้ RAID เพื่อป้องกันข้อมูลที่สำคัญของตนเอง ไว้ผมจะเขียนเรื่อง RAID ให้ว่าแต่ละ RAID ต่างกันอย่างไรมันมีตั้งแต่ RAID 0,1,5,0+1,10 สารพัด RAID
Home Product Service Solution Partner / Affiliate Support About Us Community
Privacy Policy Terms of Service Copyright/IP Policy