เกาะกระแสสินค้าไอที

วิธีเลือกซื้อสินค้าไอที

เรื่องน่ารู้

สินค้าใหม่แกะกล่อง

TOWER (1CPU E3)

HPE ProLiant MicroServer Gen10
Lenovo ThinkSystem ST50 Lenovo ThinkSystem ST50 V2 Lenovo ThinkSystem ST250 V2 HPE ProLiant ML30 Gen10 Plus DELL EMC PowerEdge T40 DELL EMC PowerEdge T150 DELL EMC PowerEdge T350

Tower (1CPU)

HPE ProLiant ML110 Gen10 HPE ProLiant ML110 Gen11

Tower (2CPU)

DELL EMC PowerEdge T440
DELL EMC PowerEdge T550
HPE ProLiant ML350 Gen10
HPE ProLiant ML350 Gen11
Lenovo ThinkSystem ST550
Lenovo ThinkSystem ST650 V2

Rack 1U (1CPU)

Lenovo ThinkSystem SR250 V2
DELL EMC PowerEdge R250
DELL EMC PowerEdge R350
HPE ProLiant DL20 Gen10 Plus
HPE ProLiant DL320 Gen11
HPE ProLiant DL325 Gen10
HPE ProLiant DL325 Gen10 Plus v2
HPE ProLiant DL325 Gen11

Rack 1U (2CPU)

Lenovo ThinkSystem SR530
Lenovo ThinkSystem SR630
Lenovo ThinkSystem SR635
Lenovo ThinkSystem SR645
DELL EMC PowerEdge R450
DELL EMC PowerEdge R650
HPE ProLiant DL160 Gen10
HPE ProLiant DL360 Gen10
HPE ProLiant DL360 Gen10 Plus
HPE ProLiant DL360 Gen11
HPE ProLiant DL365 Gen11
DELL EMC PowerEdge R6525

Rack 2U (2CPU Entry)

DELL EMC PowerEdge R550
HPE ProLiant DL180 Gen10

Rack 2U (2CPU Hi-end)

Lenovo ThinkSystem SR550
Lenovo ThinkSystem SR590
Lenovo ThinkSystem SR650 V2
Lenovo ThinkSystem SR655 (AMD 1CPU)
DELL EMC PowerEdge R7515
DELL EMC PowerEdge R7525
DELL EMC PowerEdge R740
DELL EMC PowerEdge R750
HPE ProLiant DL380 Gen10
HPE ProLiant DL380 Gen11
HPE ProLiant DL380 Gen10 Plus
HPE ProLiant DL385 Gen10
HPE ProLiant DL385 Gen10 Plus v2

Rack 2U (4CPU Hi-end)

DELL EMC PowerEdge R840

Hyper-Converged

DELL EMC vSAN Solution
Preview DELL EMC VxRail

Solution Ready Package

Lenovo ThinkSystem HA Proxmox
Lenovo Server + Storage

Course Training

Training Microsoft Server Workshop

วิธีการสั่งซื้อ
สิทธิประโยขน์สมาชิก
ชำระเงินผ่านบัตรเครดิต
วิธีการชำระเงิน
วิธีการส่งสินค้า
เกี่ยวกับเรา
ติดต่อเรา



ทีมงานเราผ่าน Certified Worldwide
HPE Gold Partner Certified
HP Certificate Partner FY16


DELLEMC Partner Certified
DELLEMC Platinum Partner

Microsoft Certified (MCSA) Microsoft Certified Solutions Associate

VMware Certified (VCP) VMware Certified Professional 5

Microsoft Silver Partner MidMarket Solution Provider Cisco Partner

VMware Partner
 

            สวัสดีครับ วันนี้ก็ได้มามีโอกาสปรับปรุงบทความกันอีกรอบ หลังจากสั่งสมประสบการณ์มาร่วม 10 ปีแล้ว หลังจากที่เห็นการรซื้อกิจการของ Lenovo ซื้อ SystemX มาจาก IBM และ HP แยกออกเป็นสองบริษัทเป็น HP Enterprise ที่ดูแลฝั่ง Server เห็นพัฒนาการและการเปลี่ยนแปลงหลายๆแบรนด์อย่างมาก

จริงๆถ้ามือใหม่เราพูดถึงแบรนด์ต่างๆ เราคงรู้จักกันประมาณ HPE, DELL, Lenovo 3 แบรนด์นี้มาก่อนในตลาดเป็นเจ้าตลาด 1-3 สลับกันไปมา พักหลังก็จะมีแบรนด์น้องใหม่ที่เข้ามาพวก Cisco ที่เน้นไปในกลุ่ม Data Center ที่ชื่นชอบ Switch อยู่แล้ว และก็มีน้องใหม่จากจีน Huawei ที่ตีตลาดอย่างหนักอารมย์ขาย 1 ฟรี 1 กันเลยแบบหากไม่มั่นใจ แต่นั่นก็กลุ่ม Project ที่ขายกันใน IDC จำนวนมากๆ และกลุ่มที่จับตลาดล่างมากๆอย่าง Acer ที่ก็จับตาม Shop ที่ขายในห้างให้มาขาย Server เพราะลูกค้ากลุ่ม SMEs ที่เล็กๆคนคุ้นเคยกับการเดินตาม IT Shop ตามห้างแล้วก็หาซื้อ PC, Notebook , Printer แล้วก็ดู Server ไปด้วย

แต่สำหรับ 2BESHOP.COM เราไม่ได้ตั้งตัวเองเป็นผู้ขาย Server ทุกยี่ห้อ แต่เราตั้งใจที่จะหา Server คุณภาพ เพราะมองว่า Server คือหัวใจหลักของบริษัท หัวใจหลักของข้อมูลบริษัท จะซื้อยี่ห้ออะไรก็ได้ไม่ได้ หรือแม้กระทั้งการซื้อถูกแล้วบอกซื้อยี่ห้อนี้ได้ 2 ตัวเลย แต่ถ้าเรามี 2 ตัวแต่เรารันงาน 1 ตัวก็พอ แล้วเราไม่สามารถเอา 2 ตัวทำ Cluster ได้ก็คงไม่มีประโยชน์อะไร ก็เหมือน Facebook , Google ที่ถ้าดู Data Center ก็จะไม่เห็นว่าเขาใช้ยี่ห้ออะไร เป็น mainboard เปลือยๆ เพราะเขา Cluster ทั้งระบบไม่สนใจว่ามันจะเสียไหม วันนี้เลยจะขอพูดถึงแบรนด์ TOP 3 เท่านั้นที่เราขายล่ะกัน ไม่อยากพาดพิงยี่ห้ออื่นเดี่ยวโดนซะก่อน

Lenovo SystemX,ThinkServer (IBM เดิม)
            ถ้าพูดถึง Lenovo ก็ต้องบอกว่าเป็นแบรนด์จีนที่เริ่มจากซื้อ IBM ฝั่ง PC,Notebook รอบนี้มาซื้อ Server ก็ต้องบอกว่าซื้อมาทั้งตัวและหัวใจ 5555 คือซื้อกิจการนั้นซื้อมาหมด ทั้งทีมวิจัย ทีมพัฒนา เรียกได้ว่ามายก Office ดังนั้นระดับคุณภาพนั้นก็ยังคงรักษาไว้ แต่จุดดีที่พอมาเป็น Lenovo ก็คือ จะสามารถทำราคาได้ดีขึ้นกว่าตอนเป็น IBM เพราะด้วยความเป็นจีน จริงๆ SystemX ก็ผลิตจีนหมดมาแต่ไหนแต่ไรล่ะ ทุกอย่างก็อยู่ที่ QC มากกว่า ว่ามาจากที่ไหน ok

SystemX ภายใต้ Lenovo นั้นก็ยังคงมีระบบทุกอย่างเหมือนเดิม ไม่ว่าจะ Lightpath LED ที่แจ้งได้ว่าอะไรเสีย อะไรกำลังจะเสีย หรือแม้กระทั้งการเริ่มเล่นตลาดล่างด้วย ThinkServer ที่แอบงงๆดีว่าตกลงจะ SystemX หรือ ThinkServer แต่ถึงเวลาเอาเข้าจริง ThinkServer ก็ไม่เลวร้าย เพราะ TS140 ที่เปิดตัวไปก็ทำให้สามารถลง Linux บน RAID ได้ตั้งแต่ตัวล่าง แล้วยังทำ Driver ของ Windows Client ให้อีกอย่างที่ไม่มียี่ห้อไหนทำมาก่อน แต่ก็ยังคงไม่รู้อนาคตของ SystemX ว่ายังคงอยู่ต่อไปหรือจะ Transform มาเป็น ThinkServer ทั้งหมด ส่วนคุณภาพนั้นก็วางใจได้เพราะซื้อกิจการมาทั้งหมด แล้วก็ยังคงใช้ Service IBM อยู่สำหรับประเทศไทย

ข้อเสียของ Lenovo ก็คงเป็นเรื่อง Service ที่ซื้อจาก IBM นั้นแหละ มันคนละบริษัท กับบริษัทเดียวกันก็ไม่รู้จะยังไง การต่อประกันราคาจะค่อนข้างสูง เพราะถือว่าคนละบริษัทล่ะ จากเดิม IBM ทั้งหมดก็ง่ายๆหน่อย หรือไม่รู้อนาคตจะใช้ Service Lenovo เองไหมเพราะตอนนี้เบอร์ Support PC,Notebook ก็คนละเบอร์กับ Server ล่ะ แต่ก็เชื่อว่าไม่ว่าอย่างไรในประเทศไทย Lenovo Server ก็ยังคงน่าจะเกาะ Top 3 ไปได้แม้จะตกๆมาในช่วง Transform แล้วพูดไม่ได้ล่ะว่า #1 เพราะสมัย IBM มี 4CPU 8CPU Mainframe คอยช่วยให้ยอด Server #1 อยู่


HP Enterprise ProLiant Server (HP เดิม)
            HP Enterprise หลังจากแยกจาก HP Inc ที่ขาย PC,Notebook, Printer ก็ดูจะเป็นแบรนด์ที่มีนวัตกรรมสูง เพราะเริ่มจะ Focus แล้วว่าไปทาง Enterprise ด้วยชื่อและหลายๆอย่าง เป็นยี่ห้อที่มีครบ Line ที่สุดแบรนด์นึง ตั้งแต่ราคา 2 หมื่น 3 หมื่น 4 หมื่น 5 หมื่น คือทุกหมื่นจะมีรุ่นรองรับทั้งหมด ไม่เหมือนกับ SystemX ที่ถ้าคุณใช้ x3100 แล้วไม่เพียงพอ ก็ต้องไป x3500 ตัว Top เลย ตรงกลางไม่มีการทำตลาดสักเท่าไร HPE นี่จะเล่นหมด รุ่นเยอะมากสุดๆ ไล่เล่นๆก็ ML10 -> ML30 -> ML110 -> ML150 -> ML350 นี่แค่ Tower เพราะเขามีทั้ง 100 Series 300 Series 10 Series 20 Series 60 Series 80 Series มาหมดจัดเต็มทุกงาน เราก็อาจจะสับสนๆได้

ข้อดีของ HPE ที่เห็นๆเลย คือ Technology เวลาคนบอกว่า Technology นั้นไม่นานก็ทันกัน แต่งงมากว่าเราเห็นระบบการจัดการ Status Disk บน HPE มาตั้งแต่สมัย Gen8 จนตอนนี้ Gen9 ก็ยังไม่มียี่ห้อไหนทำมาเหมือนเลย คือ เวลาเรามี Server ที่มี Disk หลายลูก แล้วเวลามันเสียผ่านไป 3 ปี 5 ปี IT เปลี่ยนคนย่อมจะลืมเลือนว่า ตกลงชีวิตเราทำ RAID อะไรไว้พอ Disk เสียก็จะเริ่มมาหาล่ะว่าทำ RAID อะไรไว้ แต่ HPE มีไฟ Status บอกว่าลูกนี้เสีย พอดึงแล้วทราบเลยว่าลูกไหนห้ามดึง ไม่งั้นระบบพังพินาศ อันนี้เรียกว่าดีงามพระราม 4 มาก แต่ยี่ห้ออื่นยังไม่ได้ทำกันออกมาเลยแปลกดี มี iLO ซึ่งก็เอาจริงๆก็เหมือนๆกันหมด SystemX มี IMM , DELL PowerEdge มี IDRAC ก็ไม่ได้แตกต่างอะไรกันมาก

จุดเด่นอีกอย่างของ HPE ก็คือ Foundation Care Service ซึ่งเป็นจุดเด่นที่ไม่ค่อยมีคนทราบ ตัวย่อมันคือ FC Service แต่พอใช้ชื่อว่า Foundation คนก็ชอบคิดว่ามันแบบต่ำสุดไงไม่รู้เหมือน Windows Foundation หรือองค์กรการกุศล 5555 แต่จริงๆ Foundation Care ของ HPE เทียบท่ากับ Pro-Support ของ DELL คือบริการถึงระดับ OS คือโทรสอบถามได้ หรือคุย ESXi ก็ได้ และก็มีระดับ Advance กว่านั้นคือ ProActive ที่ซื้อเพิ่มคือจะเก็บ Log ส่งให้ลูกค้าด้วยปีละ 2 ครั้ง มักจะไปกับสินค้ากลุ่ม Project ทำให้ HPE กลุ่มนี้จะ Strong มากเพราะมี System Engineer ที่เฉพาะทางให้คำปรึกษาด้วย


แต่ข้อเสียของทาง HPE ที่่พบก็คงเป็นทีม Service แบบต่ำกว่า Foundation Care จะไม่ค่อยรู้ในรุ่นใหม่ๆ จะแอบมึนๆหน่อยเวลารุ่นใหม่ๆมา แต่ก็ถือว่าเป็นข้อเสียที่เป็นระยะเวลาสั้นๆ แล้วก็ Product Line เยอะจนแอบมึน มีการเปลี่ยนเลขรุ่นบ่อยจนลูกค้าสับสนได้ว่าจะใช้อะไรดี แต่ก็เป็นปัญหาของฝั่งคนขายมากกว่าที่ต้องสือสารออกไป

DELL PowerEdge Server
            DELL เป็นแบรนด์ที่ได้รับความนิยมอย่างมาก ส่วนใหญ่เป็น Number 1 ในตลาด Data Center ของบ้านเรา เพราะด้วยสินค้านั้น มีราคาค่อนข้างถูก แถมคุณภาพก็อยู่ในเกณฑ์ที่ดี ซึ่งทาง 2BeSHOP ก็เลือกที่จะขายสินค้าเพียง 4 แบรนด์ที่เป็น 1-4 นั้นคือ Lenovo , DELL , HP , Cisco
            ข้อดีของ DELL คือ สามารถส่งสินค้าได้ไว แม้จะมีการ Customize ตัวสินค้าก็ตาม ก็ส่งได้ 7-10 วันทำการ นับคร่าวๆก็ไม่เกิน 2 สัปดาห์ แถมยังทำตลาดแบบผสมคือมีแบบสินค้าพร้อมส่งด้วยอีกต่าง

DELL มีการแก้ปัญหาจุดด้อยของตัวเองได้ดี ไม่ว่าจะเรื่อง Option ที่ Flexible จากแรกที่ไม่ค่อยเท่าไร แล้วก็ยังมีรุ่นที่มีความชัดเจน ไม่ซ้ำซ้อน ไม่งง ทุกคนจะเห็นภาพง่ายๆเช่น Tower ก็ T นำหน้า Rack ก็ R นำหน้า ก็ไล่ไปเรื่อยคือ 130 230 330 430 530 630 730 เราก็จะเดาได้ว่ารุ่นหน้าคือ 140 240 340 แน่ๆ

สินค้าออกมาขายแบบไม่ค่อยกั๊กฟีเจอร์ จัดเต็มทุกอย่างไม่ว่าจะรุ่นท๊อปก็ให้มาหมด LCD, 2 Power รวมไปถึงประกัน 24x7 และยังมี IDRAC Enterprise ให้แบบจัดเต็ม ขณะที่อีก 2 ยี่ห้อก็จะเน้นตลาดที่ถูกลงตัดตัวแจ้งว่าอะไรเสีย สำหรับรุ่นท๊อป ก็แปลกดี สำหรับ DELL อารมย์ไม่แคร์ แพงกว่าแต่จัดเต็ม

สำหรับ Service DELL ได้ชื่อมากว่าดียอดเยี่ยมด้วย Pro-Support เรียกได้ว่าไม่มียี่ห้อไหนทำที่ให้มากับทุกรุ่น แต่ถ้า HPE ก็เรียกว่า Foundation Care หรือตัวย่อ FC จะมีให้กับรุ่นกลางๆขึ้นไป คือการ Support ถึงระดับ OS ไม่ว่าจะ PC,Notebook, Server เรียกได้ว่าจัดเต็ม จนทำให้บางทีสินค้าแพงกว่าลูกค้าก็ยังซื้อ และเลือก DELL นั้นเป็นข้อดีมากสำหรับ DELL สำหรับจุดเสียของ DELL ผมยังนึกไม่ค่อยออกเท่าไร ดูเหมือนจะดีไปซะทุกอย่าง 5555 แต่ก่อนเป็นเรื่อง Option Upgrade แต่ตอนนี้ก็แก้ล่ะ แต่ก็ยังมีบ้างใน Option รุ่นสูงๆที่โดย spec ควรรองรับ 16 ลูก ยี่ห้ออื่นก็ 8+8 คือเพิ่ม Module ได้แต่สำหรับ DELL ไม่มี Option kit ก็เล่นเอาลูกค้าก็แอบอึ้ง ซื้อ Rack 2U ไปรองรับ 16 แต่ใส่ได้ 8 อีก 8 เพิ่มไม่ได้ก็ต้องใช้ Customize เอา แต่คิดว่าปัญหานี้คงไม่น่าจะนานอีกเช่นกัน



            วันนี้ก็คงปรับปรุงกันแต่เพียงเท่านี้ ตอนนี้กลางปี 2016 ล่ะ คิดว่าปีหน้า ถ้าปรับปรุงบทความน่าจะเห็นความเปลี่ยนแปลงของหลายๆแบรนด์มากขึ้น

บทความเปรียบเทียบ เป็นเพียงความเห็นส่วนตัว จากประสบการณ์ที่ได้พบเจอ ซึ่งอาจจะมีความแตกต่างจากบางคนได้
Home Product Service Solution Partner / Affiliate Support About Us Community
Privacy Policy Terms of Service Copyright/IP Policy