เกาะกระแสสินค้าไอที

วิธีเลือกซื้อสินค้าไอที

เรื่องน่ารู้

สินค้าใหม่แกะกล่อง

TOWER (1CPU E3)

HPE ProLiant MicroServer Gen10
Lenovo ThinkSystem ST50 Lenovo ThinkSystem ST50 V2 Lenovo ThinkSystem ST250 V2 HPE ProLiant ML30 Gen10 Plus DELL EMC PowerEdge T40 DELL EMC PowerEdge T150 DELL EMC PowerEdge T350

Tower (1CPU)

HPE ProLiant ML110 Gen10 HPE ProLiant ML110 Gen11

Tower (2CPU)

DELL EMC PowerEdge T440
DELL EMC PowerEdge T550
HPE ProLiant ML350 Gen10
HPE ProLiant ML350 Gen11
Lenovo ThinkSystem ST550
Lenovo ThinkSystem ST650 V2

Rack 1U (1CPU)

Lenovo ThinkSystem SR250 V2
DELL EMC PowerEdge R250
DELL EMC PowerEdge R350
HPE ProLiant DL20 Gen10 Plus
HPE ProLiant DL320 Gen11
HPE ProLiant DL325 Gen10
HPE ProLiant DL325 Gen10 Plus v2
HPE ProLiant DL325 Gen11

Rack 1U (2CPU)

Lenovo ThinkSystem SR530
Lenovo ThinkSystem SR630
Lenovo ThinkSystem SR635
Lenovo ThinkSystem SR645
DELL EMC PowerEdge R450
DELL EMC PowerEdge R650
HPE ProLiant DL160 Gen10
HPE ProLiant DL360 Gen10
HPE ProLiant DL360 Gen10 Plus
HPE ProLiant DL360 Gen11
HPE ProLiant DL365 Gen11
DELL EMC PowerEdge R6525

Rack 2U (2CPU Entry)

DELL EMC PowerEdge R550
HPE ProLiant DL180 Gen10

Rack 2U (2CPU Hi-end)

Lenovo ThinkSystem SR550
Lenovo ThinkSystem SR590
Lenovo ThinkSystem SR650 V2
Lenovo ThinkSystem SR655 (AMD 1CPU)
DELL EMC PowerEdge R7515
DELL EMC PowerEdge R7525
DELL EMC PowerEdge R740
DELL EMC PowerEdge R750
HPE ProLiant DL380 Gen10
HPE ProLiant DL380 Gen11
HPE ProLiant DL380 Gen10 Plus
HPE ProLiant DL385 Gen10
HPE ProLiant DL385 Gen10 Plus v2

Rack 2U (4CPU Hi-end)

DELL EMC PowerEdge R840

Hyper-Converged

DELL EMC vSAN Solution
Preview DELL EMC VxRail

Solution Ready Package

Lenovo ThinkSystem HA Proxmox
Lenovo Server + Storage

Course Training

Training Microsoft Server Workshop

วิธีการสั่งซื้อ
สิทธิประโยขน์สมาชิก
ชำระเงินผ่านบัตรเครดิต
วิธีการชำระเงิน
วิธีการส่งสินค้า
เกี่ยวกับเรา
ติดต่อเรา



ทีมงานเราผ่าน Certified Worldwide
HPE Gold Partner Certified
HP Certificate Partner FY16


DELLEMC Partner Certified
DELLEMC Platinum Partner

Microsoft Certified (MCSA) Microsoft Certified Solutions Associate

VMware Certified (VCP) VMware Certified Professional 5

Microsoft Silver Partner MidMarket Solution Provider Cisco Partner

VMware Partner
 


            สวัสดีครับ ก็พบกันอีกแล้วกับผม Mr.SERVER ประจำ 2BeSHOP.com ก็ถ้าอ่านบทความของผมมาแต่แรก ก็จะรู้ว่า Blade ก็คือ Server ตัวหนึ่งที่นำหลายๆอุปกรณ์มา Share ใช้ร่วมกัน พอคราวนี้ Blade เป็นเสมือน Server ตัวนึง ก็เริ่มเป็น Trend ที่มาใหม่แทน Rack ก็เริ่มมีหลากหลายยี่ห้อ จากแข่งกันอยู่แค่ HP / IBM ก็เริ่มมี DELL เข้ามา มี SUN , Fujitsu และ Intel ในฉายาเครื่องประกอบขอแจม ทำไมถึงพูดงั้นเพราะ Intel เขาจะขาย Box โดยไม่ได้ Onsite ไม่ Service เขาจะให้คนขายเป็นคน Service นั้นก็เหมือนกับ PC ประกอบที่เอานั้น โน่น นี่ มายำ ยำ ยำ แล้วก็ยำ ก็เลยกลายเป็น Server ตัวนึงเรียกว่า Server ประกอบไปนั้นเอง
            ในบทความนี้ ขอพูดถึงเพียงแค่ 2 Brand นะครับ เพราะเป็น Brand ชั้นนำในตลาด ก็เป็นเบอร์ 1 กับ 2 ของโลกนี้ในตลาด Blade นั้นแหละ ในหลัก Marketing แล้วคนมักไม่จดจำเบอร์ 2 หรือเบอร์ 3 แต่จะจำได้เฉพาะเบอร์ 1 อิอิ แต่ด้วยการที่ 2 brand นี้ก็จะเหมือนมีแฟนพันธ์แท้ของเขาเองก็มาดูกันว่ามันแตกต่างกันอย่างไร

HP BladeSystem

            HP Blade นั้นเรียกตู้ว่า Enclosures โดยใช้ชื่อเป็นทางการว่า BladeSystem นั้นเอง HP BladeSystem นั้นถือกำหนดมาในปี 2001 โดยใช้ชื่อว่า PC-Blade ทำมาเพื่อให้ Hosting ใช้งานกัน เพราะ 1 เครื่องใส่ได้มากถึง 20 เครื่องในขนาดเล็ก เรามาดูกันเลยดีกว่าว่า ข้อดี ข้อเสียของ Blade HP นั้นมีอะไรบ้าง

ข้อดี / จุดแข็ง
  1. Power Supply ใช้ Module เดียวกับ Rack : จริงๆแล้วมีส่วนหนึ่งที่ใช้เหมือนกันก็คือ Power Supply บน Rack พวก ProLiant DL380 , ML350 , Blade C3000 ทำให้สะดวกในการหาอุปกรณ์
  2. มี Option ให้เลือกใส่จำนวนมาก : ถ้าเทียบแล้ว HP นั้นในตู้ Enclosures ของเขานั้น จะสามารถเลือก Module Storage ใส่ลงไปได้ ในขณะที่ IBM ไม่มี หรือมีแต่ไม่ได้ดูดี และยังสามารถใส่ Module Tape Back ลงไปได้อีกด้วย ซึ่งถือว่าเป็น Option เสริมในตู้ Blade ที่ใส่ได้หลากหลายกว่า
  3. มีความใหม่กว่า : ต้องบอกว่ามีความใหม่กว่า เพราะว่า HP นั้นมีการเปลี่ยนตู้ Enclosures ของตัวเองมาเป็นซี่รี่ เรื่อยๆ ซึ่งพัฒนาบนเทคโนโลยี่ล่าสุด ทำให้ตู้ของ HP นั้นจะมี LED บอก Status มีความ Flexible ในการใส่ Option ต่างๆไม่ว่าจะ Storage / Tape ไปใส่ไว้ใน Series ขนาดใหญ่ระดับ C7000
  4. Power Supply ดูดีกว่า : ที่บอกในที่นี้ ก็เพราะว่า HP เคลมว่าเขาได้รางวัล Energy Star คือ สามารถสร้างค่าความสูญเสียได้น้อย นั้นคือ การที่ไฟเสียบเข้า Power Supply
  5. FAN Standby : ระบบการทำงานของพัดลม และ Power Supply ของ HP นั้นจะทำงาน Standby ไม่ได้อยู่ใน Mode วิ่งแต่วิ่งน้อย แต่ใช้การ Standby แทน ในลูก หรือ ตัวที่ไม่ได้ใช้งาน ทำให้ประหยัดพลังงานไปได้พอสมควรทีเดียว
  6. FAN Turbo JET : HP ชูจุดแข็งที่ว่า พัดลมเขาใช้การทำงานเหมือนเครื่องบินคือ เสมือนมี 2 พัดลมซ้อนอยู่ในตัวเดียว โดยอีกตัวนึง จะค้างอยู่ด้านในในทิศทางที่สวนกันกับตัวหลักที่หมุน ทำให้แรงลมนั้นทำงานได้ดียิ่งขึ้น ก็เป็นจุดแข็งอีกจุดนึง แล้วพัดลมมีขนาดเล็กมาก แต่ให้แรงที่ใช้งานได้ดีทีเดียว ยกเว้นเสียแต่ว่ามันต้อง Move ไปตามหลังเครื่องที่ใส่เท่านั้น ดูแปลกๆหน่อย


IBM BladeCenter

            IBM Blade Server หรือเรียกตู้ว่า Chassis โดยใช้ชื่ออย่างเป็นทางการว่า BladeCenter ถือกำหนดมาในยุคแรกในปี 2001 ด้วยชื่อว่า BladeCenter E ในปัจจุบัน ก็ยังคงมี BladeCenter E อยู่แล้วสามารถใช้กับเครื่องปัจจุบันได้ด้วย อ่ะ เรามาดูข้อดีข้อเสียกัน

ข้อดี / จุดแข็ง
  1. Blade Server ใช้ได้บนทุกตู้ แม้ตู้เก่า : นี่เป็นจุดเด่นที่ IBM ชูมาตลอด เพราะเป็น Blade ยี่ห้อเดียวที่ทำให้ Blade Server รุ่นใหม่ หรือ รุ่นเก่า Compatible กับตู้ BladeCenter รุ่นเก่า รุ่นใหม่ ใส่ร่วมกันได้หมด ตั้งแต่ซี่รี่แรก จนซี่รี่ล่าสุด โดยสถาปัตยกรรมของตู้ IBM ถือว่าคิดมาดีแล้ว จึงไม่มีการทำ Upgrade อะไรมากมาย ผิดกับยี่ห้ออื่นที่เปลี่ยนมาทุกๆ 3 ปี ทำให้ลูกค้าที่ลงทุนซื้อตู้ Blade ไปแล้ว ไม่สามารถซื้อเครื่องได้เต็มตู้ เมื่อเปลี่ยนรุ่น หรือ หากจะเพิ่ม ปรับในอนาคตทำไม่ได้
  2. มีครบถ้วนใน Server Blade : Blade Server ของ IBM นั้นมีหลากหลาย ตั้งแต่เครื่อง 1CPU 2CPU หรือ 4CPU รวมไปถึง WorkStation Server ล่าสุดมี Cell Server ขึ้นมาอีก สำหรับประมวลผลงานระดับสูง แล้วยังมี Power System สำหรับเครื่อง Unix ที่ทำ Virtualization ด้วย แสดงว่าครบถ้วนจริงๆในซี่รี่ที่แทน Rack ได้ทั้งหมด
  3. น้ำหนักเบา : ข้อนี้หลายคนอาจจะไม่เห็นความสำคัญ แต่ต้องบอกได้เลยครับว่า Blade Server IBM นั้นเบาว่าทุกยี่ห้อในโลกนี้ ผ่านการยกมาแล้ว น้ำหนักต่อเครื่องนั้นผู้หญิงยกได้ ขนาดใกล้เคียง Notebook มาก ถ้าเทียบกับ Brand คู่แข่งทั้ง HP & DELL ซึ่งน้ำหนักนั้นอลังการมาก คุณไม่สามารถยกทั้งตู้พร้อมเครื่องได้ในคน 3 คน แต่ IBM พร้อมตู้ และเครื่องเต็มตู้นั้น 2 คนก็ยกได้แล้ว ทำให้การ M/A นั้นง่ายขึ้น ยิ่งเฉพาะ Data Center ที่ชั่งน้ำหนักก่อนเข้าอย่าง CS-Loxinfo นั้นก็จะเป็นประโยชน์อย่างมาก รวมถึงอุปกรณ์อื่นๆที่อยู่ในตู้ Blade ด้วยก็มีน้ำหนักไม่มาก
  4. Power Consumtion : ตัว KVM Module สามารถที่จะทำให้ Server ทำงานน้อยลงได้เพื่อให้กินไฟได้น้อยลง ฟีเจอร์นี้จะช่วยมาก กรณีที่ไฟดับ แล้วเครื่องต้องใช้ UPS สำรอง ซึ่งเราคงอยากให้ Server ทำงานได้ต่อไปมากกว่าทำงานเต็มประสิทธิภาพแต่ว่ากินไฟมาก เพื่อลดระยะเวลาการสำรองไฟไปด้วย
  5. FULL Redundantcy : IBM เป็นเจ้าเดียวที่พูดถึงเรื่อง Redundant ทุกอย่าง ตั้งแต่ Mid-plain ที่มีจุดเชื่อมต่อระหว่างเครื่อง Server กับแผงวงจรด้านหลัง 2 จุด บน-ล่าง แต่ยี่ห้ออื่น กลับเชื่อมต่อเพียงแค่จุดเดียว แม้บางยี่ห้อมี 2 จุดแต่ก็แยกจุดการทำงาน ไม่ได้ Redundant อย่างสมบูรณ์แบบ หรือแม้กระทั้งพัดลม IBM ก็ใช้พัดลมทำ Redundantcy แต่คู่แข่งใช้การวางตำแหน่งพัดลมตามตำแหน่งของเครื่องที่ใส่ตาม slot นั้นๆ ดังนั้นหากมีการ Fail ก็ต้องใช้มือเปลี่ยนตำแหน่งพัดลมให้อยู่หลังเครื่องที่เสียบ Slot ใช้งาน ก็ถือว่าไม่ Redundant เท่าไร
  6. FAN ยิ่งใหญ่ อลังการ : พัดลมของ IBM หรือเรียกในศัพท์ IBM ว่า Blower นั้นเอง มีความยิ่งใหญ่ ขนาดใหญ่ ได้ใจทีเดียว ซึ่งเป็น Full reduntdant เพราะตำแหน่งที่วางนั้นครอบคลุมทั้งตู้อยู่แล้ว แล้วทำงานตามความร้อนของเครื่อง โดยปกติที่ 22-23 องศา พัดลมจะทำงานเพียงแค่ 55% แต่หากมีอุปกรณ์บางอุปกรณ์ Fail พัดลมจะทำงานหนักขึ้น เสมือนการ Alert ให้เจ้าหน้าที่ทราบว่า ช่วยมาดูฉันที ฉัน Fail 5555 เพราะมันชั่งดังเหลือเกิน เกินกว่า IT จะ ignore มันไป ก็ยอมรับว่าใหญ่ได้ใจ ไม่ต้องโม้เยอะว่าแรง เพราะขนาดมันบ่งบอกอยู่แล้ว
  7. อุปกรณืแต่ละ Chassis Share กันได้ : นี่เป็นอีกจุดเด่นนึงที่หลายคนชอบ รวมทั้งผมด้วย ที่อุปกรณ์ต่างๆบน Module IBM นั้น Share กันได้ ตั้งแต่ Blade Server รุ่นๆเก่าๆ ใส่ได้ในตู้ใหม่ๆ หรือ Blade Server รุ่นใหม่ๆ ใส่ได้ในตู้เก่าๆ หรือ หากตู้เราใช้งานมานาน เราจะ M/A เพิ่ม Power Supply ใหม่ไปก็ใส่แล้วได้ใช้กันหมดเพราะ Full Redundantcy ของเก่าอาจจะขนาด 1300Watt ของใหม่ออกมา 2000Watt ใส่ไปทีเดียวก็ได้ใช้ทั้งตู้ ไม่ต้องเปลี่ยนอุปกรณ์ใดๆ หรือ SAN Module / Switch Module ก็นำไปสลับใช้งานกันไปมาได้ แต่ก็มีบาง Module ที่เฉพาะแต่ละซี่รี่ เพราะจะแตกต่างกันบนความเป็น High-end เช่น 10Gbp Infiniband ก็ต้องใช้ H เป็นต้น เพราะ E ,S ยังไม่ได้รองรับ หรือ Module บางอย่างที่ทำให้ตู้ต่อ Storage กันภายในก็ต้องใช้กับ S เท่านั้น แต่ต้องบอกว่าอุปกรณ์กว่า 70-80% ทีเดียวที่ Share กันใช้ไปมาได้ ไม่เสียของ


บทความนี้เขียนด้วยความเห็นส่วนบุคคล อาจจะแตกต่างจากหลายบุคคล แต่ผ่านการพิสูจน์แล้ว :)
ข้อสงวนลิขสิทธิในการ Copy หากต้องการนำ Link ไปติดจะขอบพระคุณมากครับ
Home Product Service Solution Partner / Affiliate Support About Us Community
Privacy Policy Terms of Service Copyright/IP Policy